Page 386 - 100
P. 386
วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
การพัฒนาคุณภาพด้านอื่นที่มีความส�าคัญตามพันธกิจหลักของวิทยาลัยพยาบาลฯ ได้แก่
๑. การจัดท�าแผนกลยุทธ์ วิทยาลัยพยาบาลฯ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖-๒๕๕๙
๒. การจัดท�าแผนยุทธศาสตร์การวิจัย ปีงบประมาณ ๒๕๕๕-๒๕๕๘
๓. การจัดท�าแผนยุทธศาสตร์บริการวิชาการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕-๒๕๕๘
๔. การจัดท�าแผนการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕-๒๕๕๘
๕. การริเริ่มเป็นครั้งแรก ในการจัดท�าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนานักศึกษา ปีงบประมาณ ๒๕๕๖-๒๕๕๙
๖. การริเริ่มเป็นครั้งแรก ในการจัดท�าแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖-๒๕๕๙
๗. การริเริ่มเป็นครั้งแรกในการจัดท�า Road maps จ�านวน ๓ เรื่อง ได้แก่ การพัฒนาบุคลากร การพัฒนา
ผลงานวิจัย การเปิดหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
๘. การจัดท�าแผนการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
๙. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๕๕) ผ่านความเห็นชอบจาก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านการรับรองหลักสูตรจากสภาการพยาบาล และส�านักงานคณะกรรมการการอุดม
ศึกษา (สกอ.)
๑๐. การริเริ่มเป็นครั้งแรกในการจัดท�าค่ายปรับพื้นฐานนักศึกษาใหม่ (วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา
อังกฤษ) และการก�าหนดให้นักศึกษามีการสอบภาษาอังกฤษ CU-TEP
ื
๑๑. การปรับปรุงโครงสร้างพ้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของวิทยาลัยพยาบาลฯ ให้พร้อมรับการ
ี
ื
่
�
ี
เปล่ยนแปลง เป็นโครงการต่อเน่องจากการดาเนินงานในระยะท่ส จานวน ๒ โครงการ คือ ระบบเครือข่ายไร้สาย
ี
�
ื
อาคารพระบรมคุณ (ต่อเน่อง) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยพยาบาลฯ ระยะท ๑ (ต่อเน่อง) เป็นโครงการ
ี
่
ื
ริเริ่มใหม่จ�านวน ๕ โครงการ คือ ระบบเครือข่ายไร้สายอาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยพยาบาลฯ ระยะที่ ๒ การปรับปรุงห้องแม่ข่าย (server) การจัดท�าศูนย์การศึกษาอิเลคทรอนิกเพื่อ
ส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ICT การจัดท�าระบบฐานข้อมูลบริการวิชาการและศิลปวัฒนธรรม
�
๑๒. การดาเนินงานเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศอย่างต่อเน่อง ในการพัฒนาด้านวิชาการ การวิจัย
ื
และแลกเปลี่ยนบุคลากร นักศึกษา
๑๓. การจัดทาระบบและกลไกการคัดเลือกนักศึกษา เพ่อศึกษาดูงาน นาเสนอผลงานและเข้าร่วมประชุม
�
ื
�
วิชาการในระดับชาติหรือนานาชาติ
๑๔. การส่งเสริมศักยภาพบุคลากรให้ได้รับทุน research fellowship จากประเทศญี่ปุ่น
๑๕. การจัดท�าโครงการบริการวิชาการด้านสาธารณภัย เพื่อรับทุนสนับสนุนจากสภากาชาดจีน และ IFRC
๑๖. การเข้าร่วมด�าเนินโครงการบริการวิชาการ เพื่อรับทุนสนับสนุนจากส�านักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ (สปสช.)
๑๗. การริเริ่มเป็นครั้งแรกในการจัดท�า research camps ที่ส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยและการตีพิมพ์
�
�
ของอาจารย์ การกาหนดระบบและกลไกของการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร
วิเคราะห์สังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัย
๑๘. การปรับปรุงระบบฐานข้อมูลวิจัย
384 385