Page 167 - 100
P. 167
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
ของสโมสร งานสังคม ฯลฯ นักเรียนควรมีเวลาอ่านเขียน ไม่เฉพาะแต่วิชาอ่านเขียนเท่านั้น ในหนึ่งสัปดาห์ควร
จะมีอะไรท�าพิเศษร่วมกันนอกจากวิชาพยาบาลก�าหนดให้
ความส�าเร็จของวิชานี้ ต้องอาศัยหลัก ๔ ประการ
๑. สร้างสรรค์ความคิดของนักเรียนให้เป็นธรรมดาสามัญชน
๒. ครูต้องมีความรู้กว้างขวางเพื่อแนะน�านักเรียนให้เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของแต่ละคน
๓. มีสถานที่ เครื่องอุปกรณ์และความสะดวกต่างๆ
๔. การจัดตารางสอนให้เหมาะ
หลักการส�าหรับวิชาพิเศษ
การร่วมกันท�างานในหมู่นักเรียน เช่น งานสโมสร กีฬา ให้นักเรียนมีส่วนร่วมกันออกความคิดเห็น
ต่างๆ เกี่ยวกับกิจการหรือเหตุการณ์ต่างๆด้วย นักเรียนเลือกหัวหน้าชั้นและหัวหน้ากีฬาของเขาเอง ในการ
จัดการงานต่างๆ มีผู้แทนของชั้นร่วมประชุมกัน ก็นับว่าได้ผลดีตลอดมา ในเมื่อนักเรียนได้ออกความเห็นแล้ว
ควรหารือผู้ปกครองโรงเรียนก่อนว่าสมควรสนับสนุนหรือระงับเพียงใด แล้วนักเรียนก็ไปปฏิบัติตามนั้น ทั้งนี้
อยู่ในการรอบรู้ของผู้ปกครองโรงเรียนว่าจะควรมิควรประการใด
นักเรียนแต่ละคนจะต้องได้รับค�าตักเตือนเป็นคนๆไป การใช้อ�านาจเป็นการเปล่าประโยชน์ในการศึกษา
�
ี
ี
ด้านน้ การเปล่ยนแปลงให้เป็นไปตามความเห็นของนักเรียน ถ้าเป็นการสมควร อย่าถือว่าเคยทาอย่างไร
ก็จะท�าอย่างนั้น นักเรียนส่วนมากมีความเห็นอย่างไร ถ้าไม่ผิดศีลธรรมก็ควรอนุโลมตาม
ภาคพลศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนเข้าใหม่ในเทอมแรกไม่ได้ขึ้นตึกฝึกการพยาบาล ควรให้หัดการกีฬา
อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างให้ช�านาญ หลักการพลศึกษามีดังนี้
๑. ออกก�าลัง เพ่งเล็งเกี่ยวกับทรวดทรง กล้ามเนื้อของหลังและเท้า
๒. แก้อาการพิการ เช่น แก้หลังโกง เดินส่าย ฯลฯ
๓. ให้นักเรียนเกิดความสนุกร่าเริงจริงๆ
�
ี
�
ั
เม่อนักเรียนฝึกหัดทางานแล้ว ย่อมมีช่วโมงออกกาลังกายน้อยลงบ้าง ควรจัดให้มีการเท่ยวตาม
ื
�
ตาบลต่างๆ ตกปลา ไปแรมคืน การเล่นอ่นจาพวกใช้ลูกบอล โยนห่วง เทนนิสชนิดต่างๆ โครเก ระบาชนิดต่างๆ
�
ื
�
เพื่อให้มีทรวดทรงดีและมีสง่าผ่าเผย ว่ายน�้า จักรยาน พายเรือ ขี่ม้า แบดมินตัน
166