Page 302 - 100
P. 302
วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
การพัฒนาสถาบันเป็นองค์กรสร้างเสริมสุขภาพ
(Healthy Faculty)
ี
ึ
ิ
อาจกล่าวได้ว่าสภากาชาดไทยเป็นองค์กรหน่งท่ได้ริเร่มงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน
ึ
โดยได้เปิดสอนวิชาการประชานามัยพิทักษ์ข้นในโรงเรียนนางอนามัยของกองบรรเทาทุกข์และอนามัย
สภากาชาดสยามในปีพุทธศักราช ๒๔๖๗ ซึ่งนางอนามัยที่ส�าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรได้เข้าประจ�าท�างาน
ตามสถานีประชานามัยพิทักษ์ที่สภากาชาดสยามก่อตั้งขึ้นในขณะนั้น ต่อมาสภากาชาดสยามได้รวมหลักสูตร
การประชานามัยพิทักษ์เข้ากับหลักสูตรการพยาบาลและผดุงครรภ์ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ และได้พัฒนา
๑
เป็นวิชาการพยาบาลสาธารณสุขหรือการพยาบาลอนามัยชุมชนในปัจจุบัน
�
ี
ด้วยอุดมการณ์ของสภากาชาดไทยและแนวคิดท่พยาบาลสภากาชาดไทยต้องสามารถทางานท้งใน
ั
ยามสงบสุข และยามเกิดสาธารณภัยพิบัติ วิทยาลัยพยาบาลฯ จึงมุ่งมั่นที่จะผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีอัตลักษณ์
ของพยาบาลสภากาชาดไทยที่สร้างสุขภาพของตนเอง มีจิตอาสาสงเคราะห์ บ�าบัดทุกข์ บ�ารุงสุข เป็นที่พึ่งของ
สังคมด้านการสร้างเสริมสุขภาพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ด้อยโอกาสในสังคม วิทยาลัยพยาบาลฯ จึงได้วางรากฐาน
การสร้างเสริมสุขภาพไว้ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในการพัฒนาหลักสูตรในปี
พุทธศักราช ๒๕๔๗ ซึ่งนอกจากการปรับปรุงหลักสูตรให้มีรายวิชาที่จัดขึ้นโดยเฉพาะอย่างชัดเจนแล้ว วิทยาลัย
พยาบาลฯ ยังได้พัฒนาองค์ประกอบด้านอื่นๆ ของสถาบันให้เป็นองค์กรสร้างเสริมสุขภาพที่มีความสมบูรณ์
อย่างเป็นองค์รวม
ึ
ี
ท้งน้ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๔ เม่ออาจารย์ท่ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกจานวนหน่งกลับมาปฏิบัติงาน
ื
ั
�
ี
วิทยาลัยพยาบาลฯ จึงมีโอกาสได้พัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพของสถาบันให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น โดยแต่งตั้ง
�
ื
ี
คณะกรรมการวางแผนโครงการ Health Promotion เพ่อจัดทาชุดโครงการวิจัยศึกษาปัจจัยท่เก่ยวข้อง
ี
กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและภาวะสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษาในด้านโภชนาการ การออกก�าลังกาย
การจัดการกับความเครียดและสุขภาพจิต โดยใช้แบบจ�าลองการสร้างเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ (Pender’s
�
Health Promotion) ก่อให้เกิดงานวิจัยจานวนมากและส่งผลให้มีการนาผลการวิจัยมาดาเนินการต่อยอด
�
�
ในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๔๗) ท่มุ่งเน้นบทบาทพยาบาล
ี
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ โดยปรับปรุงรายวิชาให้มีรายวิชาเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ ได้แก่
วิชาการพยาบาลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ วิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้รับบริการที่มีสุขภาพดี รวมทั้งปรับลักษณะวิชา
๑ อ่านเพิ่มเติมในหัวข้อ การผลิตบุคลากรทางการพยาบาล หน้า ๙๑-๙๒
PB 301