Page 303 - 100
P. 303
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
ในกลุ่มวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่เพิ่มสัดส่วนด้านการสร้างเสริมสุขภาพให้เด่นชัดยิ่งขึ้น นอกจากนี้
ิ
ิ
่
ึ
ุ
ู
ั
�
ั
่
ี
ั
ี
่
ิ
ั
ี
ื
หลกสตรยงได้กาหนดรายวชาการศกษาทวไปและรายวชาเลอกเสรทเกยวข้องกบการสร้างเสรมสขภาพ
และเป็นพื้นฐานต่อยอดกับรายวิชาการพยาบาลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ อาทิ วิชาการออกก�าลังกายเพื่อสุขภาพ
สภาวะแวดล้อมของเรา ทักษะชีวิต การจัดการกับความเครียด พลวัตกลุ่ม ภูมิปัญญาตะวันออกกับการดูแล
สุขภาพ การสร้างพลังอ�านาจในตน วิทยาศาสตร์การกีฬา จิตวิทยาการอนุรักษ์ธรรมชาติ เป็นต้น นอกจากนี้
ยังได้เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะทางอนุสาขาการพยาบาลเพ่อส่งเสริมสุขภาพ
ื
(หลักสูตร ๘ สัปดาห์) ขึ้นในปีพุทธศักราช ๒๕๔๕
ในระหว่างด�าเนินการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๔๗)
วิทยาลัยพยาบาลฯ ได้พัฒนาอาจารย์ เจ้าหน้าที่และนักศึกษา โดยปรับกระบวนทัศน์เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ
ให้เข้าใจไปในแนวทางเดียวกัน กอปรกับวิทยาลัยพยาบาลฯ ได้เข้าร่วมกับสถาบันการศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์
ในสังกัดของรัฐบาล ๑๕ สถาบัน ที่มีเป้าหมายในการพัฒนาสถาบันการศึกษาพยาบาลให้เป็นผู้น�าในการสร้างเสริม
�
สุขภาพ โดยได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ต้งแต่ปีพุทธศักราช
ั
๒๕๔๖-๒๕๕๐ และพุทธศักราช ๒๕๕๑-๒๕๕๔ ซึ่งมีพันธกิจหลักในฐานะสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา คือ
๒
๑. การผลิตบัณฑิตสาขาการพยาบาลให้มีสมรรถนะในการเป็นผู้น�าด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
๒. สร้างสรรค์ผลงานวิจัยที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
๓. บริการวิชาการที่บูรณาการผลงานวิจัยและการเรียนการสอนเพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้ใช้บริการ
๔. การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาพื้นบ้านที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ื
�
จากการท่วิทยาลัยพยาบาลฯ ได้ดาเนินนโยบายพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพมาอย่างต่อเน่องดังกล่าวแล้ว
ี
และการได้เข้าร่วมรับทุนสนับสนุนจาก สสส. ในการพัฒนาสถาบันให้เป็นผู้นาในการสร้างเสริมสุขภาพในปี
�
ั
พุทธศักราช ๒๕๔๗ น้น วิทยาลัยพยาบาลฯ ได้ดาเนินภารกิจหลักท้ง ๔ ประการได้อย่างครบถ้วน ท้งการพัฒนา
ั
�
ั
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๔๗) ที่มุ่งเน้นบทบาทพยาบาลด้านการ
�
สร้างเสริมสุขภาพ ซ่งได้ดาเนินการมาก่อนการเข้าร่วมรับทุนจาก สสส. ดังกล่าว รวมท้งการพัฒนางานวิจัย
ั
ึ
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การบริการวิชาการที่บูรณาการผลการวิจัยและการเรียนการสอนเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
ให้แก่ผู้ใช้บริการ และการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาพื้นบ้าน โดยมีการด�าเนินงานเป็นล�าดับ ดังนี้
ระยะที่ ๑ (พุทธศักราช ๒๕๔๗-๒๕๕๐) มีการด�าเนินงาน ๘ โครงการ คือ
๑. โครงการพัฒนาอาจารย์พี่เลี้ยง (Mentor) ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
ี
�
๒. โครงการพัฒนาแกนนาด้านการสร้างเสริมสุขภาพของอาจารย์ นักศึกษาและเจ้าหน้าท่วิทยาลัยพยาบาล
สภากาชาดไทย ท�าให้เกิดแกนน�าและตัวแบบทั้งที่มีอยู่เดิมและที่เกิดขึ้นจากผลการด�าเนินโครงการ ๔ ด้าน คือ
ุ
ิ
ิ
ั
ั
๒ คณะกรรมการกากบทศทางของแผนงานพฒนาสถาบนการศกษาพยาบาลให้เป็นผ้นาในการสร้างเสรมสขภาพ.
�
ู
�
ึ
ั
ถอดบทเรียนการพัฒนาองค์กรผู้น�าในการสร้างเสริมสุขภาพ (๒๕๕๐, ม.ป.ท.), ๗.
302