Page 47 - 100
P. 47
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
พระรำชโอรสและพระรำชธิดำในพระบำทสมเด็จพระรำมำธิบดีศรีสินทรมหำจุฬำลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้ำ
เจ้ำอยู่หัว จัดสร้ำงสิ่งซึ่งเป็นถำวรประโยชน์ไว้เป็นอนุสำวรีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมชนกนำรถ จึงมี
พระรำชด�ำริเห็นพร้อมกันว่ำ ควรสร้ำงโรงพยำบำลสภำกำชำดขึ้น ก็จะเป็นกำรพระกุศลอันประกอบด้วยถำวร
ประโยชน์ อนุโลมตำมพระรำชประสงค์ของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกนำรถและเป็นเกียรติยศแก่สยำมรำช
อำณำจักร์ด้วยทุกประกำร………. ต่างพระองค์จึงทรงบริจาคทรัพย์ร่วมกัน รวมกับเงินทุนของสภากาชาดเดิม
ที่มีอยู่ และองค์สภานายิกาทรงพระราชทานสมทบพิเศษอีกส่วนหนึ่ง ส่วนการก่อสร้างและจัดการโรงพยาบาล
พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานที่ดินอันเป็นส่วนของพระองค์ให้โดยมิต้องลงทุนซื้อหา และโปรดเกล้าฯ ให้จอมพลพระเจ้าพี่ยาเธอ
พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช ซึ่งด�ารงต�าแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหมในขณะนั้น
จัดการก่อสร้างโรงพยาบาล เมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๕๔ เป็นต้นมา การก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จ
จอมพลพระเจ้าพี่ยาเธอพระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชสิ้นพระชนม์เสียก่อน จึงทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พลเอกสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลก
ประชานารถ (ต่อมาทรงด�ารงพระยศเป็นจอมพล) เสนาธิการทหารบกทรงอ�านวยการต่อมาจนส�าเร็จ จึงได้
โปรดให้ขนานนามโรงพยาบาลตามพระบรมนามาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจุฬาลงกรณ์
่
ื
ี
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า “โรงพยำบำลจุฬำลงกรณ์” และเสด็จมาเปิดโรงพยาบาล เม่อวันท ๓๐ พฤษภาคม
พุทธศักราช ๒๔๕๗
๑
พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พลเอก (จอมพล) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ
กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ
๑ สภากาชาดสยาม, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงเรียนนางพยาบาล สถานปาสเตอร์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๒. (กรุงเทพฯ:
ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ กรมเสมียนตรา, ๒๕๓๔), ๓๐.
46