Page 49 - 100
P. 49

๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย



               สักแต่ว่ำเป็นคนแล้วก็ท�ำได้  ดังนั้นหำมิได้ต้องอำไศรยกำรเล่ำเรียน...”  และปรากฏในพระราชบัญญัติ  ว่าด้วย

               สภากาชาดสยาม พุทธศักราช ๒๔๖๑ ดังนี้


                      พระบำทสมเด็จพระรำมำธิบดีศรีสินทรมหำวชิรำวุธ  พระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว  มีพระบรมรำชโองกำร

               มำณพระสุรสีหนำทให้ประกำศทรำบทั่วกันว่ำ



                      เมื่อปีพระพุทธศักรำช  ๒๔๓๖  พระรำชวงศำนุวงศ์และข้ำรำชกำรประชำชนชำยหญิงมำกหลำย  ได้มี
               น�้ำใจปรีดีพร้อมเพรียงกันออกเงินเป็นทุนตั้งสมำคมขึ้นอย่ำงหนึ่ง  ส�ำหรับจัดหำเครื่องยำ  เครื่องพยำบำลให้แก่
               ทหำรซึ่งต้องไปรำชกำรในสนำม  กระท�ำกิจครั้งนี้ด้วยควำมเม็ตตำกำรุณ  เป็นกำรเชิดชูเกียรติคุณของบ้ำนเมือง

               จึงสมเด็จพระบรมชนกนำรถพระบำทสมเด็จพระรำมำธิบดีศรีสินทรมหำจุฬำลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
               ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ รับสมำคมนั้นเข้ำไว้ในพระบรมรำชูปถัมภ์และพระรำชทำนนำมว่ำ “สภำอุณำโลมแดง”

               แต่ภำยหลังเปลี่ยนนำมเป็น  “สภำกำชำดสยำม”  และสมเด็จพระบรมรำชินีนำถ  พระบรมรำชชนนีพันปีหลวง
               ได้ทรงรับต�ำแหน่งสภำนำยิกำ  มีกรรมกำริณีจัดด�ำเนินกำรของสภำตลอดมำเป็นล�ำดับ  สภำได้ท�ำประโยชน์ให้แก่
                                                                           ี
                                                                     ึ
                                                                                                       ั
                                                                                                ั
               มหำชนเป็นอเนกประกำร  เช่น  สร้ำงโรงพยำบำลจุฬำลงกรณ์ข้นเป็นท่รักษำพยำบำลคนเจ็บไข้ท่วไป  ท้งต้ง ั
               โรงเรียนนำงพยำบำลเพื่อฝึกหัดสั่งสอนกุลสัตรีให้มีควำมรู้ในเชิงกำรพยำบำลไข้และช่วยกำรคลอดบุตร์  ส�ำหรับ
               ท�ำคุณประโยชน์ให้แก่เพื่อนมนุษย์ทั้งหลำย ดังนี้เป็นต้น


                      บัดนี้  ทรงพระรำชด�ำริห์ว่ำสมควรจักวำงระเบียบกำรส�ำหรับสภำกำชำดสยำมนี้ให้เป็นหลักฐำนมั่นคง
               บริบูรณ์ดียิ่งขึ้น จึงมีพระบรมรำชโองกำรด�ำรัสสั่งให้ตรำพระรำชบัญญัติไว้สืบไปดังนี้ ว่ำ




                                                       หมวดที่ ๑

                                 ว่าด้วยความมุ่งหมายส�าหรับสภาและน่าที่กรรมการ



                      มาตรา ๑ สภำกำชำดสยำมมีไว้ด้วยควำมมุ่งหมำยจะกระท�ำกิจในทำงเม็ตตำกำรุณ ดังจะกล่ำวต่อไปนี้

                              ก. จัดสถำนที่ถำวรส�ำหรับท�ำกำรรักษำพยำบำลคนเจ็บไข้ไม่ว่ำชำติใดภำษำใด
                              ข. จัดกำรช่วยเหลือผู้รับภัยเน่องจำกอุบัติเหตุ เช่น มีโรคร้ำยเกิดแพร่หลำยข้นในท�ำเลใดท�ำเลหน่ง
                                                                                         ึ
                                                                                                         ึ
                                                     ื
                                  เกิดอุทกภัย ดังนี้เป็นต้น
                                                                    ี
                                                                       �
                              ค. จัดการส่งสอนนางพยาบาล สระสมบุคคลท่จะทาการในน่าท่นางพยาบาล และอานวยการ
                                                                                                  �
                                       ั
                                                                                  ี
                                 ทั้งปวงในเรื่องนี้
                              ง. บ�ำรุงกิจกำรทำงแพทย์สำตร์ ให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น
                              จ. ช่วยกองทัพบกทัพเรือในทำงพยำบำล ทั้งในเวลำสงครำมและยำมสงบศึก
                      มาตรา ๒ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ทรงด�ำรงต�ำแหน่งบรมรำชูปถัมภกแห่งสภำนี้

                                                                                           ี
                      โรงเรียนนางพยาบาลสภากาชาดสยาม  จึงเป็นโรงเรียนแห่งแรกของกรุงสยามท่เปิดสอนหลักสูตร
                                               �
                                                                             ี
               การพยาบาลอย่างแท้จริง  ดังพระดารัสของจอมพลสมเด็จพระเจ้าพ่ยาเธอ  เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์

                                                             48
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54