Page 119 - 100
P. 119
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
การฝึกปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มทักษะในระหว่างปิดภาคการศึกษาจ�านวนทั้งสิ้น ๑,๒๖๔ ชั่วโมง โดยมีอาจารย์ผู้สอน
ภาคปฏิบัติประจ�าหอผู้ป่วยควบคุมการฝึกปฏิบัติและท�าการสอนทางคลินิค (Clinical Teaching) ในวิชาชีพ
การพยาบาลทุกสาขา ตลอดหลักสูตร
ส�าหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรผดุงครรภ์ มีจ�านวนหน่วยกิตรวม ๓๐ หน่วยกิต ก�าหนดเวลาเรียน
๒ ภาคการศึกษา ในชั้นปีที่ ๔ รายวิชาที่เรียนประกอบด้วย สูติศาสตร์และการพยาบาล ๑ (การตั้งครรภ์และ
การคลอดปกติ) สูติศาสตร์และการพยาบาล ๒ (การตั้งครรภ์และการคลอดผิดปกติ) การคลอดตามบ้าน
และกฎหมายสาขาผดุงครรภ์ การวางแผนครอบครัว การพยาบาลทารกแรกเกิด การฝึกปฏิบัติการพยาบาล
สูติศาสตร์ การฝึกปฏิบัติการพยาบาลฉุกเฉิน นิติเวชศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โดยก�าหนดเกณฑ์การฝึกปฏิบัติ
ของนักศึกษาไว้ดังนี้
๑. ได้สังเกตการณ์คลอดปกติมาแล้วไม่ต�่ากว่า ๒๐ ราย
๒. ได้สังเกตการคลอดผิดปกติไม่ต�่ากว่า ๒๐ ราย
๓. ช่วยในการคลอดไม่ต�่ากว่า ๑๐ ราย
๔. ท�าคลอดในและนอกสถานที่ ๒๐ ราย
(นอกสถานที่ไม่ต�่ากว่า ๕ ราย)
๕. สอนมารดาก่อนและหลังคลอดไม่ต�่ากว่า ๕ ครั้ง ๆ ละ ๑๐ ราย
๖. สามารถตรวจลักษณะปกติของเด็กภายหลังคลอดและ ๒๐ ราย
ให้การบริบาลไม่ต�่ากว่า
๗. สังเกตการณ์วางแผนครอบครัวและติดตาม Mobile unit ๒๐ ราย
การวัดผลในระบบหน่วยกิต ได้เปลี่ยนจากการคิดค่าร้อยละเป็นระบบเกรด คือ A, B, C, D และ F
นักศึกษาต้องสอบได้ไม่ต�่ากว่า ๑ จุดล�าดับขั้น (Point) ของแต่ละวิชาทางภาคทฤษฎี และไม่ต�่ากว่า ๒ จุด
ล�าดับขั้น ทางภาคปฏิบัติการพยาบาลจึงจะถือว่าสอบผ่าน โดยผู้เรียนจะต้องมีเวลาเรียนแต่ละรายวิชาไม่
น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาที่ศึกษาในวิชานั้น
่
่
ั
ี
่
ี
ในระยะเตรียมพยาบาล (ปีท ๑ ภาคท ๑) ทุกวิชาต้องสอบได้ไม่ตากว่า ๑ จุดลาดับข้น (Point)
�
�
ถ้าสอบตกวิชาใหญ่ ๓ วิชา หรือสอบตกวิชาใหญ่ ๒ วิชาและวิชาย่อยอีก ๒ วิชา ให้เรียนซ�้าชั้น หรือถ้าสอบตก
วิชาใหญ่ ๒ วิชา และวิชาย่อย ๑ วิชา หรือสอบตกวิชาย่อย ๓ วิชา และคะแนนเฉลี่ยไม่ต�่ากว่า ๑.๕ ให้สอบ
แก้ตัวได้ถ้าสอบแก้ตัวแล้วยังตกอีกให้เรียนซ�้าชั้น
วิชาที่เรียนในระยะการเรียนพยาบาล (ภาคที่ ๑) ที่นับเป็นวิชาใหญ่คือ ชีววิทยา ๑, ๒ พยาธิวิทยา
จุลชีวะวิทยาและปาราสิตวิทยา เคม ๑,๒ ฟิสิกส์ กายวิภาคศาสตร์ และการพยาบาลรากฐาน ส่วนวิชาย่อย คือ
ี
จรรยาพยาบาล เภสัชวิทยา และพละศึกษา
118