Page 395 - 100
P. 395
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
�
ี
ี
ทิศทางของงานบริการวิชาการในทศวรรษหน้าจะเป็นงานท่สามารถช้นาและช่วยแก้ปัญหาสังคมอย่าง
จริงจัง โดยยังคงมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพการพยาบาลเฉพาะทางของบุคลากรในวิชาชีพที่สามารถตอบสนอง
ความต้องการพยาบาลเฉพาะด้านของประชาชนและสังคมในอนาคต รวมทั้งหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการ
ของสถาบันการศึกษาพยาบาล และหลักสูตรเฉพาะทางตามความต้องการของผู้ใช้ ภายใต้ความร่วมมือของ
เครือข่ายวิชาชีพ เครือข่ายกาชาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ เครือข่ายประเทศในกลุ่มอาเซียน ตลอดจน
หลักสูตรการศึกษาเฉพาะทางแบบทางไกล และหลักสูตรด้านการพยาบาลที่เอื้อส�าหรับพยาบาลที่ปฏิบัติงาน
โดยใช้กระบวนการวิจัยในการพัฒนาความเข้มแข็งด้านบริการและประเมินผลลัพธ์จากการให้บริการวิชาการ
การบริการวิชาการส�าหรับประชาชนและสังคม จะมุ่งเน้นงานบริการวิชาการของอาจารย์และนักศึกษา
ี
ื
ี
�
ในพ้นท่ชุมชนใกล้เคียงวิทยาลัยพยาบาลฯ หรือชุมชนท่สามารถดาเนินงานได้อย่างต่อเน่องจนสามารถสร้างชุมชน
ื
เข้มแข็งอย่างยั่งยืน สามารถวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานบริการวิชาการได้ชัดเจนซึ่งปัจจุบันนี้
ได้ด�าเนินการในกลุ่มผู้สูงอายุใน ๒ ชุมชน คือ ชุมชนแออัดคลองเตย และชุมชนร่มเกล้า ในทศวรรษหน้า
ี
ั
ยังมุ่งเน้นบริการด้านผู้สูงอาย เด็ก สตรี/กลุ่มเส่ยงและชุมชนด้อยโอกาส รวมท้งบริการวิชาการในคลินิก
ุ
ตามความเช่ยวชาญของอาจารย์ภายใต้ความร่วมมือของเครือข่ายสหสาขาและชุมชนท้งในสภากาชาดไทยและ
ี
ั
เครือข่ายภายนอก เช่น การจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ (Center of Excellence) ด้วยความร่วมมือ
ระหว่างวิทยาลัยพยาบาลฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย รวมทั้งการต่อยอดผลงานวิชาการของอาจารย์ให้เป็นงานบริการวิชาการที่เกิดประโยชน์แก่สังคม
เช่น การจัดท�าคู่มือดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ส�าหรับพยาบาล ครู และผู้ปกครอง เป็นต้น
๕. กำรแก้ปัญหำกำรขำดแคลนอำจำรย์พยำบำล
การเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นความท้าทายของวงการสาธารณสุขไทย และสถาบัน
การศึกษาทางการพยาบาล ที่ต้องสร้างสมดุลระหว่าง “ความต้องการใช้พยาบาล” (Demand) และ “จ�านวน
พยาบาลผู้ให้บริการ” (Supply) โดยเฉพาะวิชาชีพการพยาบาลที่เป็น ๑ ใน ๗ แรงงานฝีมือตามกรอบ
Mutual Recognition Arrangement หรือ MRA ที่สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเสรีในอาเซียน ท�าให้
นักวิชาชีพสามารถเข้าไปท�างานในประเทศสมาชิกได้สะดวก ทั้งนี้ภายใต้กรอบ MRA มีความเป็นไปได้ว่า
จะเกิดทั้งการไหลเข้าของพยาบาลจากประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ที่ผลิตพยาบาลเพื่อ
การส่งออก ในทางกลับกัน อาจจะเกิดการไหลออกของพยาบาลวิชาชีพและอาจารย์พยาบาลจากประเทศไทย
โดยเฉพาะพยาบาลที่มีศักยภาพด้านภาษา ไปยังประเทศที่มีก�าลังซื้อสูง แต่ขาดแคลนพยาบาล อาทิ สิงคโปร์
และมาเลเซีย จากสภาพการณ์ปัจจุบันของสถาบันการศึกษาทางการพยาบาลในประเทศไทย พบว่า อาจารย์
พยาบาลอาวุโสเกษียณอายุ และมีปริมาณการทดแทนไม่เพียงพอ รวมทั้งลักษณะของคนรุ่นใหม่ในยุคปัจจุบัน
และอนาคตจะชอบการทางานอิสระท่มีรายได้ด รวมท้งกฎระเบียบต่างๆขององค์กรและการให้ค่าตอบแทน
ี
ี
�
ั
ของอาจารย์พยาบาลในปัจจุบันไม่จูงใจให้คนรุ่นใหม่มาเป็นอาจารย์พยาบาล
394