Page 134 - 100
P. 134
วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
รายวิชาใดมีการเรียนภาคปฏิบัติสัปดาห์ละ ๔-๖ ชั่วโมง ตลอดภาคการศึกษาปกติ หรือสัปดาห์ละ
๘-๑๒ ชั่วโมง ตลอดภาคฤดูร้อน ให้นับเป็น ๑ หน่วยกิต
ั
�
การวัดและประเมินผลการศึกษา การวัดผลการศึกษาของแต่ละรายวิชา กระทาเป็นแบบระดับข้น
(Grade) ๕ ระดับ คือ A,B,C,D และ F มีค่าระดับขั้น ๔,๓,๒,๑ และ ๐ ตามล�าดับ
ี
ี
�
การสาเร็จการศึกษา นักศึกษาท่สอบได้หน่วยกิตครบตามหลักสูตร และได้ค่าเฉล่ยสะสมตลอดหลักสูตร
�
่
�
ไม่ตากว่า ๒.๐๐ จึงจะถือว่าสาเร็จการศึกษาโดยสมบูรณ์ มีสิทธิได้รับปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิตจาก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมีสิทธิขอขึ้นทะเบียนประกอบโรคศิลปะสาขาการพยาบาลและผดุงครรภ์
เริ่มใช้หลักสูตรนี้ในปีการศึกษา ๒๕๒๑ จนถึงปีการศึกษา ๒๕๓๘ มีผู้ส�าเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้
รวม ๒,๕๙๑ คน
๒๓
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๓๙)
การพัฒนาหลักสูตรพุทธศักราช ๒๕๓๙ นี้ มุ่งหวังให้นักศึกษาได้พัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะและ
เจตคติให้เป็นพยาบาลที่มีคุณภาพ สามารถให้การพยาบาลแบบองค์รวมได้ทุกระดับของระบบบริการสาธารณสุข
โดยยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพและอุดมการณ์ของสภากาชาด และมีกรอบแนวคิดของศาสตร์ทางการพยาบาล
ที่ชัดเจน กล่าวคือ หลักสูตรจะเน้นความสัมพันธ์ของมโนทัศน์ คน สิ่งแวดล้อม ภาวะสุขภาพ และการพยาบาล
โดยใช้กระบวนการพยาบาลและจรรยาบรรณวิชาชีพเป็นกรอบแนวคิดพ้นฐานและหลักการสาคัญของการ
ื
�
ปฏิบัติการพยาบาล ครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การดูแลรักษา และการฟื้นฟูสภาพ
ในการให้การดูแลบุคคล ครอบครัวและชุมชน ตั้งแต่เกิดจนตาย ทั้งบุคคลที่อยู่ในภาวะสุขภาพดีและเจ็บป่วย
โดยมีการดูแลครอบคลุมทั้งด้านกาย จิตสังคมและจิตวิญญาณ
ั
ี
ี
�
ี
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรคร้งน้มีข้อสังเกตท่สาคัญคือ มีการปรับเปล่ยนกระบวนทัศน์ท่สาคัญ
ี
�
ี
อย่างมาก โดยเฉพาะการปรับเปล่ยนกระบวนทัศน์ของกรอบแนวคิดของหลักสูตรจาก medical model
มาเป็น nursing model และกระบวนทัศน์ของการออกแบบหลักสูตรโดยเพ่มการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้
ิ
ส่วนเสียทุกฝ่าย ได้มีการจัดสัมมนากลุ่มผู้ใช้หลักสูตร กลุ่มบัณฑิต/ศิษย์เก่า กลุ่มนักศึกษา กลุ่มอาจารย์ผู้
สอนหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะและหมวดวิชาชีพ ร่วมกับการวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษา
ติดตามผลการใช้หลักสูตร ปีพุทธศักราช ๒๕๒๑ การวิเคราะห์ผลกระทบตอภาวะสุขภาพด้านสังคม เศรษฐกิจ
่
ความเจริญทางด้านเทคโนโลยี ปัญหาสาธารณสุขของประเทศและสิ่งแวดล้อม และทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ท�าให้หลักสูตรนี้มีการบูรณาการของเนื้อหาสาระในแต่ละรายวิชา เน้นปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการ
ในแต่ละกลุ่มวัย เน้นบทบาทของพยาบาลด้านร่างกาย จิตสังคม และจิตวิญญาณ ครอบคลุมบทบาทด้าน
การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ดูแลรักษาพยาบาล และฟื้นฟูสภาพในผู้รับบริการที่มีสุขภาพดีและเจ็บป่วย
ในระยะต่างๆ รวมทั้งเน้นการพัฒนาผู้เรียนในกระบวนการเรียนการสอน
๒๓ วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๓๙).
132 133