Page 135 - 100
P. 135
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
ี
ี
�
�
�
ึ
สาหรับการบริหารหลักสูตรซ่งเป็นหัวใจสาคัญของการนาหลักสูตรท่ออกแบบไว้ไปใช้ ได้มีการปรับเปล่ยน
�
กระบวนทัศน์ไปเน้นการพัฒนาและการกากับคุณภาพการศึกษา โดยพัฒนาผู้สอนและผู้รับผิดชอบในการออกแบบ
แผนการสอน เนื้อหาสาระ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการวัดประเมินผลทั้งรายวิชาที่เป็นทฤษฎี
และรายวิชาปฏิบัต จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ และการสัมมนาเพ่อร่วมกันพัฒนาและ
ิ
ื
แก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาคู่มือในการด�าเนินงานด้านต่างๆ ได้แก่ คู่มือการบริหารหลักสูตร คู่มือการ
จัดการศึกษาหมวดวิชาชีพการพยาบาลภาคปฏิบัติ คู่มือการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา คู่มืออาจารย์
คู่มือการพัฒนาอาจารย์ใหม่ คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษา นอกจากนั้นในด้านกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ี
�
ั
ั
ได้เน้นวิธีการท่หลากหลาย มีการนาการสอนท่เน้นปัญหาเป็นฐานมาใช้ในช้นเรียนเป็นคร้งแรก (Problem-based
ี
learning) และสนับสนุนส่งเสริมให้นาส่ออิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เน้นการพัฒนา
�
ื
ื
ิ
ู้
�
ส่งเอ้ออานวยต่อการเรียนร เช่น การพัฒนาห้องสมุดให้ทันสมัย มีหนังสือ วารสาร ฐานข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ และ
สื่ออื่นๆ อย่างเพียงพอ ขยายพื้นที่และระยะเวลาในการให้บริการแก่ผู้เรียน พัฒนาหอผู้ป่วยจ�าลองให้ทันสมัย
มีหุ่น อุปกรณ์อย่างเพียงพอ สามารถรองรับการสอนและการฝึกทักษะทางการพยาบาลทั่วไป หอผู้ป่วยวิกฤต
ั
ี
ั
ห้องผ่าตัด ห้องคลอด และทักษะเก่ยวกับผู้ป่วยเด็กท้งในและนอกเวลาเรียน นอกจากน้นยังได้กาหนดประสบการณ์
�
การเรียนรู้ภาคปฏิบัติขั้นต�่าในแต่ละรายวิชาตลอดหลักสูตรอย่างเป็นทางการไว้เป็นครั้งแรก
�
�
ี
ี
ี
การบริหารหลักสูตรน้ยังได้นาหลักการวัดประเมินผลทางด้านสุขภาพมาใช้หลายวิธ ท่สาคัญคือ การสอบ
ภาคปฏิบัติในห้องสาธิตที่มุ่งเน้นเทคนิคภาคปฏิบัติ (Objective Structural Practical Examination - OSPE)
และ การสอบภาคปฏิบัติในหอผู้ป่วยจ�าลองในทุกรายวิชาทางการพยาบาล ที่เรียกว่า Objective Structural
ั
ี
Clinical Assessment (OSCA) รวมท้งได้บูรณาการการพัฒนาคุณลักษณะท่พึงประสงค์ของบัณฑิต
ั
�
ั
�
ท้งผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชาและการร่วมมือกับอาจารย์ประจาช้นและรองผู้อานวยการ
วิทยาลัยพยาบาลฯ ฝ่ายนักศึกษาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกหลักสูตรเพื่อการพัฒนานักศึกษา
ิ
หลักสูตรน้มีระยะเวลาการศึกษา ๔ ปี ในระบบทวิภาค (ไม่น้อยกว่า ๘ ภาคการศึกษาปกต และ ๓ ภาค
ี
ฤดูร้อนหรือเทียบเท่า และไม่เกิน ๑๖ ภาคการศึกษาปกติหรือเทียบเท่า) มีจานวนหน่วยกิตรวม ๑๔๐ หน่วยกิต
�
ื
และไม่นับหน่วยกิตรวม ๓ หน่วยกิต ได้แก่ วิชาคอมพิวเตอร์เบ้องต้น ๑ หน่วยกิต และวิชาภาษาไทย ๒ หน่วยกิต
ตามรูปแบบหลักสูตรระดับปริญญาตรีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีโครงสร้างของหลักสูตรดังนี้
โครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรี
๑) หมวดวิชาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต ๓)
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๙ หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต ๑)
- กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ๖ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ๖ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาภาษา ๖ หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต ๒)
- กลุ่มวิชาสหศาสตร์ ๓ หน่วยกิต
134