Page 137 - 100
P. 137
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
คุณภาพบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิตและตัวบัณฑิตเอง น�าผลการศึกษาและการวิเคราะห์ทั้งหมดมาปรับปรุงหลักสูตร
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๔๗) จึงมีลักษณะปรับเปลี่ยนที่ส�าคัญ คือ
๑) มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของหลักสูตรและรายวิชาให้สอดคล้องกับการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ
ของประเทศ โดยเน้นการเสริมสร้างสุขภาพในผู้ที่มีสุขภาพดีและเจ็บป่วยในแต่ละระยะ ให้ความส�าคัญกับการ
ดูแลผู้ป่วยในระยะฉุกเฉินและวิกฤต และการบูรณาการความรู้รวบยอดทางการพยาบาล ส่งเสริมการใช้เทคโนโลย ี
สารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน
๒) เพิ่มจ�านวนหน่วยกิตในกลุ่มของวิชาภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของส�านักงานคณะ
กรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการและตามค่านิยม (Value) ขององค์กร “ที่จะก้าวไปสู่สากล”
๓) ปรับเปลี่ยนโปรแกรมการเรียนการสอนให้เน้นภาคปฏิบัติในชั้นปีที่ ๔ เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะใน
รายวิชาปฏิบัติการพยาบาลเลือกสรร และลดจ�านวนหน่วยกิตโดยภาพรวมของนักศึกษาชั้นปีที่ ๔ ลงเพื่อให้
นักศึกษามีเวลาในการเตรียมความพร้อมส�าหรับการสอบขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพมากขึ้น และ
๔) ให้ความส�าคัญกับการจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เน้นการจัดการศึกษาที่
ี
�
ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญและการพัฒนาคุณลักษณะท่พึงประสงค์ของนักศึกษาผ่านกระบวนการเรียนการสอนท้งใน
ั
และนอกหลักสูตร
หลักสูตรน้ได้ผ่านการประชาพิจารณ์ของคณาจารย์ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้เรียน ผู้ทรงคุณวุฒ ิ
ี
ด้านหลักสูตรนอกสถาบัน ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการคณะต่างๆ จนได้รับการอนุมัติจากจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗ ได้รับการรับรองจากสภาการพยาบาล เมื่อวันที่
๑๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๔๘ เริ่มใช้จัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา ๒๕๔๘ มีผู้ส�าเร็จการศึกษา
ไปแล้วรวม ๙๖๘ คน (ข้อมูล ณ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗)
ั
ี
�
ั
มีข้อสังเกตท่สาคัญในการพัฒนาหลักสูตรคร้งน คือ ได้มีการจัดต้งศูนย์การเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง
ี
้
(Self Access Language Learning Center) ขึ้นในปีการศึกษา ๒๕๕๐ เพื่อเปิดให้บริการทั้งในและนอกเวลา
ี
ั
ราชการ ประกอบด้วยหนังสือ วารสาร เก่ยวกับความรู้ท่วไปภาษาอังกฤษ หนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ ภาพยนตร์
บทเรียนภาษาอังกฤษในรูปของซีด วีซีด ดีวีด และโปรแกรมเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองในบรรยากาศ
ี
ี
ี
ที่ผ่อนคลาย รวมทั้งมีการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารในขณะให้และรับบริการ
ระบบการศึกษาเป็นแบบทวิภาค ปีการศึกษาหนึ่งๆ แบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษา คือ ภาคการ
ศึกษาต้น และภาคการศึกษาปลาย และอาจมีภาคฤดูร้อน ต่อจากภาคการศึกษาปลายอีก ๑ ภาคก็ได้ ภาคการ
ศึกษาหนึ่งๆ มีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ ส่วนภาคฤดูร้อน มีระยะเวลาการศึกษาประมาณ
๖ สัปดาห์
136
136