Page 501 - 100
P. 501
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
พุทธศักราช ๒๔๖๗ - ๒๔๖๙ ได้รับทุนหกเจ้าฟ้าของสภากาชาดสยามไปศึกษาหลักสูตรการพยาบาล
ที่ St.Luke’ Hospital Manila ประเทศฟิลิปปินส์ และได้รับทุนศึกษาวิชาการพยาบาลสาธารณสุข โรงเรียน
พยาบาลสาธารณสุข ที่ประเทศฟิลิปปินส์อีก ๑ ปี (พุทธศักราช ๒๔๗๐)
พุทธศักราช ๒๔๗๑ ได้รับทุนจากสันนิบาตกาชาดไปศึกษาหลักสูตรวิชาอนามัยเพิ่มเติมที่ Bedford
College For Women, University of London and College of Nursing, London.
ในขณะปฏิบัติงานอยู่สภากาชาดไทย ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๔๖๐-๒๔๙๔ ท่านได้มีบทบาทส�าคัญ
ในการพัฒนาทั้งด้านการศึกษาพยาบาลและการบริการพยาบาล เช่น การเรียบเรียงหนังสือจรรยาพยาบาล
ี
ึ
จากต้นฉบับของชาลอต เอ เอคินซ์ ซ่งยังคงอาศัยหลักปฏิบัติการท่ท่านวางไว้เป็นมาตรฐานของวิชาชีพ
การพยาบาลมาจนถึงปัจจุบัน
ด้วยความวิริยะอุตสาหะและทุ่มเทให้กับงานตลอดเวลา ส่งผลให้ท่านมีความเจริญก้าวหน้าในต�าแหน่ง
หน้าที่จนถึงต�าแหน่งบริหารสูงสุดของฝ่ายการพยาบาล ดังนี้
พุทธศักราช ๒๔๗๐ เป็นผู้ช่วยหัวหน้าแผนกกองอนามัย สภากาชาดสยาม
พุทธศักราช ๒๔๗๓ เป็นผู้ช่วยหัวหน้าแผนกประชานามัยพิทักษ์ สภากาชาดไทย
พุทธศักราช ๒๔๗๔ ผู้รั้งต�าแหน่งหัวหน้าแผนกประชานามัยพิทักษ์ สภากาชาดสยาม และได้รับการ
แต่งตั้งเป็นหัวหน้าแผนกประชานามัยพิทักษ์ ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ จนถึงปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ จึงได้รับ
การแต่งตั้งให้รักษาการต�าแหน่งหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์อีกต�าแหน่งหนึ่ง
พุทธศักราช ๒๔๘๓ ด�ารงต�าแหน่งหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์สภากาชาดไทย จนถึงปี
พุทธศักราช ๒๔๙๔ จึงได้เวนคืนต�าแหน่งเพื่อไปรับราชการกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากได้รับการชักชวน
จาก Miss Baggally อาจารย์การประชานามัยพิทักษ์ ซึ่งขณะนั้นด�ารงต�าแหน่ง Head of Nursing Devision,
ื
Geneva ให้เข้ารับงานด้านประชานามัยพิทักษ์ เพ่อช่วยพัฒนางานด้านสาธารณสุขของรัฐบาลให้กว้างขวางย่งข้น
ึ
ิ
ึ
ี
ี
�
�
ในตาแหน่งผู้ตรวจการพยาบาลประจากระทรวงสาธารณสุข ซ่งมีหน้าท่เก่ยวกับการศึกษาพยาบาล ควบคุม
และแนะน�าการปฏิบัติงานผดุงครรภ์และบริการพยาบาลในสถานที่และการสาธารณสุข ในระยะแรกที่ปฏิบัติงาน
ท่านได้ร่วมในการริเริ่มปรับปรุงสุขศาลาและสถานีอนามัย ซึ่งมีอยู่ทั่วพระราชอาณาจักร โดยเฉพาะการจัด
Refresher Course อบรมนางสงเคราะห์ (Public Health Nurse) และนางผดุงครรภ์ เพราะนางสงเคราะห์ก็ตาม
นางผดุงครรภ์ก็ตามจะต้องได้รับความรู้ใหม่อยู่เสมอ และได้เริ่มอบรมนางสงเคราะห์ผู้ตรวจการประจ�าจังหวัด
โดยเลือกนางสงเคราะห์ที่มีความช�านาญในงานพยาบาลสาธารณสุขอย่างน้อย ๒ ปี มาอบรมเป็นเวลา ๖ เดือน
500