Page 502 - 100
P. 502
วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
เพื่อเป็นผู้ช่วยอนามัยจังหวัดในด้านพยาบาลสาธารณสุข ควบคุมแนะน�าการปฏิบัติงานของนางผดุงครรภ์ชั้น ๒
�
ั
ตามสถานีอนามัย นอกจากน้นได้ร่วมดาเนินการจัดการศึกษาพยาบาลสาธารณสุขในโรงเรียนพยาบาลสาธารณสุข
ั
ื
�
ของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ร้อฟื้นการอบรมหมอตาแย พร้อมท้งการปรับปรุงอนามัยชนบท โดยความร่วมมือ
ขององค์การยูนิเซฟ ซึ่งมีส่วนช่วยอย่างส�าคัญในการช่วยให้ประชาชนที่อยู่ในชนบทถิ่นที่กันดารได้รับการช่วย
ท�าคลอดอย่างปลอดภัยจากหมอต�าแยที่ได้รับการอบรม แม้จะถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้สนับสนุนคนให้ท�าผิดกฎหมาย
จากการรื้อฟื้นการอบรมหมอต�าแย เนื่องจากท่านพิจารณาแล้วเห็นว่าในชนบทที่ห่างไกลในขณะนั้นมีพลเมืองไทย
อยู่ร้อยละ ๖๐ ที่ยังไม่ได้รับการช่วยเหลือจากการแพทย์แผนปัจจุบัน จึงจ�าเป็นต้องปรับปรุงปัจจัยที่มีอยู่ให้ดีขึ้น
�
่
ื
่
ั
ี
ื
ั
ี
ี
่
นนคอการอบรมหมอตาแยทมอยู่ให้สามารถช่วยเหลอประชาชนให้ปลอดภยในขณะทการแพทย์และการพยาบาล
แผนปัจจุบันในขณะนั้นต้องใช้เวลา ๑๕ - ๒๐ ปี จึงจะสามารถช่วยเหลือการคลอดบุตรทั่วไปเพียงพอ
พุทธศักราช ๒๔๙๘ ท่านได้ริเริ่มการก่อตั้งโรงเรียนครูพยาบาลและผดุงครรภ์ขึ้น โดยท่านเป็นผู้บริหาร
และด�าเนินการด้วยตนเอง ภายใต้ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การบริหารวิเทศกิจ
แห่งสหรัฐอเมริกา (USOM) ซึ่งมีความส�าคัญมากในการผลิตครูพยาบาลออกมาท�าคุณประโยชน์ด้านการศึกษา
และการเรียนการสอนวิชาพยาบาลอย่างกว้างขวาง
ในส่วนท่เก่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลและสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย นางสาวสงวนวรรณ เฟื่องเพ็ชร
ี
ี
เป็นคุณครูที่มีลูกศิษย์มากมายทั่วประเทศ เนื่องจากได้รับเชิญไปสอนในสถาบันการศึกษาพยาบาลที่มีอยู่ในยุคนั้น
ได้ทาหน้าท่เป็นเลขานุการของสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยอย่างต่อเน่องมาเป็นเวลานาน รวมท้งเขียนบทความ
ี
ั
ื
�
ทางวิชาการท่เก่ยวกับหลักสูตรการเรียนการสอน และความรู้ท่เก่ยวกับการพยาบาล ลงตีพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือ
ี
ี
ี
ี
“จดหมายเหตุการพยาบาล” อย่างต่อเนื่องสม�่าเสมอ
ี
ี
ในระหว่างรับราชการท่กระทรวงสาธารณสุข ท่านได้ไปศึกษาและดูงานเก่ยวกับการพยาบาล ณ ต่างประเทศ
และยังได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนของกระทรวงสาธารณสุขไปประชุมองค์การอนามัยโลก (WHO) ณ กรุงเจนีวา
และประชุมเกี่ยวกับการพยาบาล ณ กรุงนิวเดลฮี ทั้งยังได้ปฏิบัติงานส่วนรวมให้เป็นผลดีแก่ชาติร่วมกับแผนการ
ของสหประชาชาติ โดยช่วยประสานงานด้านต่างประเทศระหว่างกระทรวงสาธารณสุขกับองค์การอนามัยโลก
(WHO) และองค์การบริหารการร่วมมือกับต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา (ICA) ให้ด�าเนินงานสอดคล้องร่วมกัน
ไปด้วยดี
ด้วยจิตใจท่กอปรด้วยความเมตตากรุณา ปฏิบัติงานด้วยความเสียสละ เพ่งเล็งถึงประโยชน์ส่วนรวมโดยมิได้
ี
เลือกช้นวรรณะของบุคคล อุทิศเวลาท้งส้นให้แก่งานพยาบาลเป็นส่วนใหญ่ ด้วยความมุ่งม่นทุ่มเทในการช่วยเหลือ
ั
ั
ั
ิ
และแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชน การพัฒนาการศึกษาพยาบาลและบริการพยาบาลให้เจริญก้าวหน้าอย่าง
รวดเร็ว รวมทั้งได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างดีเยี่ยมตามอุดมคติของกาชาดสากลในระหว่างเหตุการณ์สงครามกรณีพิพาท
ระหว่างไทย-อินโดจีนและสงครามมหาเอเชียบูรพา เหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๕ และ
เหตุการณ์โรคอหิวาตกโรคระบาดในพระนคร เป็นต้น จากคุณงามความดีที่ได้ปฏิบัติตลอดมาโดยมิได้เห็นแก่
500 501