Page 586 - 100
P. 586
วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
ชีวิตนักเรียนพยาบาล...ช่วงชีวิตที่มีคุณค่า
ี
ื
ึ
ี
วิชาชีพการพยาบาลเป็นวิชาชีพหน่งท่มีการเรียนแตกต่างจากวิชาชีพอ่น การเรียนการสอนท่ต้องม ี
การฝึกปฏิบัติควบคู่ไปกับการเรียนภาคทฤษฎี การฝึกปฏิบัติงานในเวรเช้า เวรบ่ายและเวรดึกท�าให้นักศึกษา
�
พยาบาลต้องพักอยู่ในหอพักของโรงเรียนจนสาเร็จการศึกษา การทางานกับผู้รับบริการท่มีความหลากหลาย
�
ี
โดยไม่เลือกเชื้อชาติ ชนชั้น ลัทธิ ศาสนา หรือความคิดเห็นทางการเมือง ทั้งในผู้มีภาวะสุขภาพดี เจ็บป่วย หรือ
เมื่อประสบภัยพิบัติ จึงท�าให้ชีวิตนักเรียนพยาบาลตั้งแต่ครั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน ยังคงความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ
ี
ี
ึ
ี
ของตนเอง เป็นช่วงหน่งของชีวิตท่มีคุณค่ามากท่สุด เป็นประสบการณ์อันประทับใจท่ให้ความรู้สึกเป็นสุข อบอุ่น
ฯลฯ ทุกครั้งที่ร�าลึกถึง
ุ
ชีวิตนักเรียนพยาบาลเร่มต้นในช่วงวัยรุ่น ต้งแต่อาย ๑๕, ๑๖, ๑๗ หรือบางคนท่ไปแวะเวียนเรียนอย่างอ่น
ั
ี
ื
ิ
มาก่อนก็ไม่เกินอาย ๓๐ ปี ตามระเบียบการรับสมัครของโรงเรียน แต่ส่วนใหญ่ก็จะอยู่ในช่วงของวัยรุ่นตอนปลาย
ุ
เช่นเดียวกันกับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาโดยทั่วไป แต่ด้วยลักษณะของวิชาชีพที่ต้องฝึกความรับผิดชอบ
ต่อชีวิตของผู้ป่วยทุกลมหายใจ ท�าให้ดูเสมือนว่าชีวิตนักเรียนพยาบาลได้ก้าวข้ามช่วงชีวิตที่สนุกสนาน มีสีสัน
ของวัยรุ่นไปสู่การเป็นผู้ใหญ่ที่รู้คิดเกินวัย อย่างไรก็ดี ด้วยธรรมชาติของมนุษย์ที่เรียนรู้การปรับตัวเป็นเลิศ และ
ด้วยความเมตตาเอาใจใส่ของคุณครู/อาจารย์ทุกยุคทุกสมัย ได้มีส่วนช่วยให้นักเรียนพยาบาลสามารถใช้ช่วงชีวิต
ในวัยเรียนได้อย่างมีสีสันและมีความสุขตามวัยได้อย่างเหมาะสม
ชีวิตนักเรียนพยาบาลทุกคนเริ่มต้นที่ผู้ปกครองน�ามา “มอบตัว” กับอาจารย์ตามวันที่ก�าหนด ค�าว่า
�
“มอบตัว” เป็นคาท่ผู้ปกครองและนักเรียน/นักศึกษาหลายคนเคยแสดงความสงสัยว่า “โตจนเรียนระดับ
ี
ี
ื
�
มหาวิทยาลัยแล้ว ทาไมยังต้องมีการมอบตัวเหมือนเด็กๆ นักศึกษาท่เรียนมหาวิทยาลัยอ่นๆ เขารับผิดชอบ
ไปลงทะเบียนเรียนด้วยตนเองกันทั้งนั้น ไม่เห็นต้องให้ผู้ปกครองมาเลย” ความส�าคัญของการ “มอบตัว” คือ
ผู้ปกครองต้องลงนามในเอกสารแสดงความยินยอมให้นักเรียนซึ่งมีอายุยังไม่บรรลุนิติภาวะ อยู่ในความปกครอง
ี
ของอาจารย์และยินยอมให้อาจารย์ลงนามแทนผู้ปกครองได้ ในกรณีของการเจ็บป่วยฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุท่ต้องรับ
การรักษาเร่งด่วนด้วยการผ่าตัด รวมทั้งการได้ท�าความรู้จักกันระหว่างอาจารย์กับผู้ปกครอง เพื่อการติดต่อ
ประสานงาน เนื่องจากครู/อาจารย์จะต้องท�าหน้าที่เสมือนแม่คนที่สอง ช่วยดูแลอบรมสั่งสอนตั้งแต่แรกเข้าจน
ส�าเร็จการศึกษา
PB 585