Page 591 - 100
P. 591
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
“...ปีสุดท้ายทางโรงเรียนจะพาศึกษาดูงานเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อม เราไปดูงานตามโรงงาน เช่น
โรงสีข้าว การส่งข้าวออกนอกประเทศ ศึกษาดูงานเกี่ยวกับงานของรัฐวิสาหกิจ ศึกษาดูงานของโรงแรมดุสิตธานี
เมื่อเสร็จสิ้นการศึกษาดูงานแล้วก็รับประทานอาหารกลางวัน ศึกษาวิธีการนั่งโต๊ะ การใช้ช้อนส้อม การใช้มีด
และมรรยาทในการนั่งโต๊ะ โดยเสียเงินคนละ ๑๓๐ บาท...” (ประจวบ วัฒนพงศ์ศิริ, ศิษย์เก่ารุ่น ๔๙ “เสี้ยวชีวิต
พยาบาลชนบท” สารศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย, ๒๕๔๔, ๘๕)
“...กิจกรรมนักเรียนสมัยก่อนมีหลายอย่าง หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ ทรงทันสมัยมาก พานักเรียน
ไปขึ้นเครื่องบินที่ดอนเมือง ไป Sport Club นั่งรถไฟสายหัวล�าโพง-ปากน�้า ค่าโดยสาร ๑ สตางค์ มีแข่งว่าย
น�้าในคลองเจริญศรีระหว่างชั้นปี...” (ท่านผู้หญิงถวิลหวัง ทุติยะโพธิ์, ศิษย์เก่าปีพุทธศักราช ๒๔๖๘, สัมภาษณ์
วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๘)
“...ระเบียบในการรับประทานอาหารจะต้องนั่งให้ครบกลุ่มละ ๖ คน เจ้าหน้าที่จึงจะน�าอาหารมาเสิร์ฟ
หากยังไม่ครบ 6 คนต้องคอยจนครบ หรือไปรวมกับโต๊ะอื่นที่ยังขาดจ�านวน อาหารบางอย่างเติมได้ รสชาติอร่อย
ยังติดใจถึงปัจจุบันนี้...” (ท่านผู้หญิงประเทือง คชภักดี, “การด�าเนินชีวิตเกี่ยวกับวิชาชีพพยาบาลของข้าพเจ้า”
สารศิษย์เก่าพยาบาลภากาชาดไทย, ๒๕๔๐, ๒๒)
ี
ึ
การเป็นนักเรียน/นักศึกษาพยาบาลและการใช้ชีวิตอยู่ในหอพัก เป็นช่วงตอนหน่งท่ประทับใจของนักเรียน/
นักศึกษา และเป็นหัวข้อสนทนาอย่างสนุกสนานทุกครั้งที่มีการพบปะกันระหว่างเพื่อน-พี่-น้อง
“...ท่านหญิงใหญ่ (หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ กมลาศน์) ทรงมีเมตตามากและเข้าใจนักเรียนว่าเป็น
ึ
�
เด็กวัยรุ่นก็ซุกซนไปตามประสา วันหน่งอยากทาตัวเลียนแบบเป็นครู ก็เอาดอกชบาสีแดงมาทาเป็นกาชาด
�
ื
�
เอาต้นหญ้ามาทาเป็นขีดเคร่องหมายหัวหน้า เข้าห้องทาท่าสอนเพ่อนๆ ท่านหญิง “นภ” (หม่อมเจ้าหญิง
ื
�
นภมณี กมลาศน์) มาพบเข้าก็ไปรายงานท่านหญิงใหญ่ ท่านรับตัดสินความตามเหตุผลว่า เป็นเด็กอยากให้
คนนับถือ ท่านเลยตั้งให้เป็น “องค์ถาวร” ...เวลานักเรียนท�าผิด ท่านหญิงจะลงโทษ โดยให้มานั่งร่วมโต๊ะเสวย
�
นักเรียนทุกคนกลัวกันมาก แต่ยายไม่กลัว ชอบแกล้งทาผิดเพราะอยากน่งโต๊ะเสวยกับท่าน...” (นางถาวร
ั
สุวรรณวงศ์ ศิษย์เก่าปีพุทธศักราช ๒๔๖๙, สัมภาษณ์วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๓๘)
่
ี
ื
นักเรียนพยาบาลช้นปีท ๑ ทุกคนไม่ว่าจะมาจากกรุงเทพฯ หรือต่างจังหวัด เม่อเข้าอยู่หอพักจะต้องมีพ ี ่
ั
ในสภา ๑ คน (คือพี่รหัสประจ�าตัวนักศึกษา) บางครั้งก็มีพี่จังหวัดหรือพี่อื่นๆ บ้างตามแต่จะบัญญัติขึ้นมา
พี่ในสภาจะท�าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงประจ�าตัวที่คอยดูแลช่วยเหลือน้องใหม่ในชีวิตความเป็นอยู่ทุกเรื่อง แนะน�าเรื่อง
การเรียน อบรมสั่งสอน การวางตัวในการอยู่ร่วมกันระหว่างเพื่อน-พี่-น้อง การเคารพรุ่นพี่ตามระบบอาวุโส
ี
ี
แม้ว่าน้องปีท ๑ ท่เข้าใหม่อาจจะอายุมากกว่ารุ่นพ่ก็ตาม การมีพ่ในสภาและพ่ในดวงใจคอยดูแลช่วยเหลือ
ี
ี
ี
่
เป็นอย่างดี ท�าให้น้องๆ ได้รับความอบอุ่นใจ คลายเหงา เกิดความรู้สึกเคารพผูกพันกันตั้งแต่แรกเข้าจนถึง
วันสุดท้ายของการเรียน แม้ว่าต่างคนต่างแยกย้ายกันไปปฏิบัติงาน มีครอบครัวหรือเกษียณอายุการท�างาน
ไปแล้ว แต่สัมพันธภาพอันงดงามระหว่างพี่-น้องในสภานั้นยังคงมั่นคงอยู่และดูแลช่วยเหลือกันราวกับพี่น้องจริง
590