Page 589 - 100
P. 589

๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย



                                                                             ้
                                                            ึ
                                                                                            ั
                                                                      ื
                                                                  ื
                                                                             �
                      “...ปีพุทธศักราช ๒๔๘๕ มีเหตุการณ์สาคัญเกิดข้น ๒ เร่อง เร่องแรกนาท่วมกรุงเทพฯ คร้งใหญ่ บางวันท่วม
                                                    �
               ถึงระเบียงตึกช้นล่าง  ต้องใช้เรือพายติดต่อระหว่างตึกผู้ป่วย  โรงครัว  แผนกสูติ-นรี  และห้องเก็บศพ  การปฏิบัติงาน
                           ั
               ได้รับความล�าบากมาก  ต้องมีความอดทน  ขณะนั้นอยู่ในวัยสนุก  ไม่ค่อยรู้สึกถึงความล�าบาก  มุ่งแต่จะช่วยกัน
                 �
               ทางานให้ลุล่วงไปวันต่อวัน  นักเรียนงดเรียนบางวิชา  และอดกลับบ้านช่วคราว  หัวหน้าพยาบาลขอร้องให้นักเรียน
                                                                        ั
               เวรบ่ายและเวรดึกช่วยกันช้อนกุ้งฝอยและจับปลา เพื่อส่งให้โรงครัวน�าไปประกอบอาหาร ทุกคนเต็มใจสนุก
                           ี
                        ื
                                  ื
                                                                ี
                      เร่องท่สอง เม่อวันท่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๕ กองทัพญ่ปุ่นบุกเข้าประเทศไทยหลายจุด โดยเฉพาะกรุงเทพฯ
                                      ี
                                                                              ี
                          ึ
               ทหารกองหน่งได้เข้ามาพักในบริเวณสนามม้า  (สปอร์ตคลับ)  และทหารญ่ปุ่น  หน่วยเสนารักษ์ได้เข้ายึดตึก
               วชิราวุธและตึกหลิ่มซีลั่น  เพื่อใช้เป็นที่รักษาพยาบาลทหารญี่ปุ่นที่ป่วยเจ็บ  นักเรียนที่เข้าเวรบ่ายและดึกที่ตึก
                              ื
               จิรประวัติและตึกอ่นๆ  มีความกลัวมาก  ต้องมีการระแวดระวังรักษาตัวเอง  ดีใจมากเม่อเห็นเวรตรวจเปิดไฟสีแดง
                                                                                     ื
               แสดงว่าเวรตรวจ (พยาบาล) ก�าลังปฏิบัติงานอยู่ที่ตึกนั้นๆ...” (ท่านผู้หญิงประเทือง คชภักดี “การด�าเนินชีวิต
               เกี่ยวกับวิชาชีพพยาบาลของข้าพเจ้า, สารศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย, ๒๕๔๐, ๒๕)
                      “...ข้าพเจ้าก็ไปที่ตึกสุทธาทิพย์ (เป็นหอพักนักเรียน) ได้พบนักเรียนพยาบาล ต่างคนก็ตกใจกลัว เพราะ

               ข่าวก่อนหน้านั้นได้ทราบมาว่า  ญี่ปุ่นขึ้นเมืองใดมักท�ากับผู้หญิงตามอ�าเภอใจ  ข้าพเจ้าไปอธิบายและปลอบใจ
               นักเรียน นักเรียนได้มารุมล้อมข้าพเจ้าเต็มไปหมด ข้าพเจ้าได้บอกว่าเราอยู่ภายใต้ธงกาชาดแล้ว ใครจะท�าอะไร

               ไม่ได้ จงทาจิตใจให้สงบเถิด ผู้มีหน้าท่จงไปทางานตามหน้าท่ ขอให้เห็นกับคนไข้ ขณะท่พูดกันอยู่น้ คุณสงวนวรรณ
                                                                                    ี
                                                  �
                                             ี
                       �
                                                                                             ี
                                                               ี
                                                                                          ี
               เฟื่องเพ็ชร หัวหน้าพยาบาลได้เข้ามาพบเข้า และได้ช่วยกันให้กาลังใจนักเรียน นักเรียนท่เป็นเวรก็ได้กลับไป
                                                                     �
               ปฏิบัติงามตามเดิม  ที่ไม่อยู่เวรก็อยู่ในความสงบ...”  (ท่านผู้หญิงถวิลหวัง  ทุติยะโพธิ,  ละครตัวเดียว,  ๒๕๑๗,
               ๓๒-๓๓)
                      “...การเข้าเวรเช้า  บ่าย  และดึก  ต้องรีบไปรับเวรหลังออกจากห้องเรียน  ผู้อยู่เวรบ่าย-ดึก  ต้องม  ี
               ความอดทน  มักมีอาการง่วงหลับในห้องเรียน...”  ประสบการณ์ที่ยากจะลืมอย่างหนึ่งของชีวิตนักเรียนพยาบาล
               คือ การส่งศพเมื่อผู้ป่วยเสียชีวิต นักเรียนชั้นปีที่ ๒ จะไปส่งศพที่ห้องเก็บศพ โดยจะเป็นผู้ที่ถือร่มกางให้ผู้ป่วย

               ที่เสียชีวิต และจะมีคนงานประจ�าห้องเก็บศพมารับศพ เมื่อถึงห้องเก็บศพจะต้องเก็บผ้าคลุมผู้ป่วยมาคืนตึก...”
               (ประจวบ วัฒนพงศ์ศิริ, ศิษย์เก่ารุ่น ๔๙ “เส้ยวชีวิตพยาบาลชนบท” สารศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย,
                                                     ี
               ๒๕๔๔, ๘๕)


                                                                                         �
                      “...ท่ลาบากท่สุดคือ  การส่งศพไปไว้ท่ห้องเก็บศพในเวลากลางคืนท่มีนาท่วม  ต้องนาศพไปลงเรือท่ท่าเรือ
                                                                                                     ี
                                                                            ี
                                                                              �
                                                                              ้
                                                     ี
                            �
                          ี
                                 ี
                                              �
                ึ
               ซ่งทางโรงพยาบาลจัดไว้ ข้าพเจ้าต้องทาหน้าท่ยกทางปลายเท้า เวรเปลยกทางศีรษะ นับ ๑, ๒, ๓ ยกศพลงไปอย  ู่
                                                    ี
               ในเรือเรียบร้อย เวรเปลท�าหน้าที่พายเรือ ข้าพเจ้านั่งหัวเรือ (มีไฟฉายช่วย) เมื่อถึงห้องเก็บศพต้องเปิดประตู
               เปิดไฟ  แล้วยกศพวางบนชั้นที่จัดไว้  เสร็จเรียบร้อยแล้วปิดไฟและประตู  ข้าพเจ้าและเพื่อนๆ  ก่อนเข้าเวรบ่าย
               หรือดึก จะภาวนาขออย่าให้มีคนตายขณะที่อยู่เวรเลย... (ท่านผู้หญิงประเทือง คชภักดี, “การด�าเนินชีวิตเกี่ยวกับ
               วิชาชีพพยาบาลของข้าพเจ้า, สารศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย, ๒๕๔๐, ๒๕)
                                                             588
   584   585   586   587   588   589   590   591   592   593   594