Page 84 - 100
P. 84
วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
การผลิตบุคลากรทางการพยาบาล
หลักสูตรการพยาบาล
ตั้งแต่เริ่มตั้งโรงเรียนนางพยาบาลสภากาชาดสยาม ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๗ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน
วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทยได้เปิดสอนหลักสูตรการพยาบาลเป็นหลักตามความต้องการของสภากาชาดไทย
ิ
ื
และประเทศชาต ตลอดระยะเวลา ๑๐๐ ปีท่ผ่านมาหลักสูตรการพยาบาลได้มีวิวัฒนาการอย่างต่อเน่อง
ี
โดยสอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศาสตร์ทางการพยาบาล ความต้องการบริการ
สุขภาพของประชาชน สภาพการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและสังคมในทุกด้านซึ่งจะกล่าวถึงวิวัฒนาการ
ของหลักสูตรการพยาบาลและการจัดการเรียนการสอนเป็น ๔ ยุค ดังนี้
๑. ยุคหลักสูตรประกาศนียบัตร (พุทธศักราช ๒๔๕๗-๒๕๐๖)
๒. ยุคหลักสูตรประกาศนียบัตรขั้นสูง (พุทธศักราช ๒๕๐๗-๒๕๑๒)
๓. ยุคหลักสูตรอนุปริญญาวิชาพยาบาลและอนามัย (พุทธศักราช ๒๕๑๓-๒๕๒๐)
๔. ยุคหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ (พุทธศักราช ๒๕๒๑-ปัจจุบัน)
ในที่นี้จะกล่าวถึงการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในแต่ละยุค ดังนี้
๑. ยุคหลักสูตรประกาศนียบัตร (พุทธศักราช ๒๔๕๗ - ๒๕๐๖)
เมื่อเริ่มต้นด�าเนินการเปิดสอนวิชาพยาบาล ร้อยโทชื่น พุทธิแพทย์ (พลตรีพระยาด�ารงแพทยาคุณ)
ั
ึ
ี
ซ่งขณะน้นดารงตาแหน่งหัวหน้าพแนกศึกษา กองพยาบาลทหารบกกลาง และร้อยตรีเพ้ยน สิงหะชัย
�
�
(พันโทพระวรสุนทโรสถ) เป็นผู้ช่วยหัวหน้าพแนก ท้งสองท่านได้ร่วมกันจัดวางหลักสูตรการศึกษาพยาบาล
ั
พร้อมกับท�าการสอนฝึกหัดอบรมนักเรียนนางพยาบาล เนื่องจากในขณะนั้น การหานางพยาบาลที่มีความรู้
๑
ั
มาเป็นครูสอนน้นหายากมาก ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๔๕๘ นางสาวลูซ คันแลป และนางสาวสอางค์ เนียมณรงค์
่
ี
�
ี
ี
ซ่งสาเร็จการศึกษาหลักสูตรวิชาพยาบาลรุ่นแรก ได้ทาหน้าท่เป็นหัวหน้าตึกรักษาพยาบาล จึงรับหน้าท่เป็นผู้ดูแล
�
ึ
และสอนนักเรียนนางพยาบาลด้วย
หลักสูตรวิชาพยาบาลในช่วง ๒ ปีแรก (พุทธศักราช ๒๔๕๗ – ๒๔๕๘) มีลักษณะเป็นการสั่งสอน
ริมที่นอนคนเจ็บไข้และการฝึกหัด ดังนี้
๒
๑ สภากาชาดสยาม, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงเรียนนางพยาบาล สถานปาสเตอร์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๒ (กรุงเทพฯ :
ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ กรมเสมียนตรา, ๒๕๓๔), ๒๐๑.
๒ สภากาชาดสยาม, เรื่องเดียวกัน, ๒๐๒.
PB 83