Page 87 - 100
P. 87
๑๐ ทศวรรษ ที่ยั่งยืน...สู่ทศวรรษหน้าที่ท้าทาย
การพัฒนาหลักสูตรครั้งแรก (พุทธศักราช ๒๔๖๐-๒๔๖๕)
ี
ี
จากการท่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์มีการเปล่ยนแปลงโครงสร้างการบริหารในปีพุทธศักราช ๒๔๖๐
โดยยกเลิกพแนกศึกษาและตั้งพแนกรักษาพยาบาลขึ้น โรงเรียนนางพยาบาลจึงได้โอนไปขึ้นกับพแนกรักษา
พยาบาล และมีชื่อใหม่ว่า “กองโรงเรียนนางพยาบาล” มีหัวหน้ากองรับผิดชอบโดยขึ้นตรงต่อหัวหน้าพแนก
รักษาพยาบาล ในการนี้สภากาชาดได้ออกข้อบังคับว่าด้วยนางพยาบาลสภากาชาด พุทธศักราช ๒๔๖๑ ซึ่งข้อ
ี
ี
�
้
บังคับน้ได้กาหนดสาระท่เก่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ดังน “.......นักเรียนนางพยาบาล
ี
ี
๔
แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ นักเรียนนางพยาบาลทั่วไป และนักเรียนนางพยาบาลผดุงครรภ์ ผู้ที่จะเป็น
นักเรียนต้องมีอายุไม่ต�่ากว่า ๑๖ ปีเต็ม และไม่เกินกว่า ๓๐ ปี มีความรู้จบชั้นมัธยม ๒ ของกรมศึกษาธิการ
เป็นอย่างต�่าหรือมีประกาศนียบัตร์วิชาพยาบาลมาจากส�านักใดๆ มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่มีความเสีย
หายอย่างใด เป็นโสต คือ ไม่มีบุตร์และสามีซึ่งจะเป็นที่กังวล มีร่างกายบริบูรณ์และแขงแรง”
่
นักเรียนนางพยาบาลประเภท (ก) มีกาหนดเวลาเรียนไม่ตากว่า ๒ ปี นักเรียนนางพยาบาล
�
�
ประเภท (ข) มีก�าหนดเวลาเรียนไม่ต�่ากว่า ๓ ปี ใน ๒ ปีแรกเรียนวิชาพยาบาล ในปีที่ ๓ เรียนวิชาผดุงครรภ์
โดยเฉพาะ ถ้านักเรียนประเภท (ก) ได้เล่าเรียนมาแล้วครบ ๓ ปี นักเรียนประเภท (ข) ได้เล่าเรียนมาแล้ว
ครบ ๔ ปี ยังสอบไล่ไม่ได้และจะสมัครเรียนต่อไปอีก เมื่อมีผู้อ�านวยการเห็นสมควรก็จะได้ให้เรียนต่อไป
หรือให้ออกเป็นกองหนุนก็ได้
ในระหว่างเล่าเรียน ห้ามมิให้นักเรียนกระท�าการวิวาหะมงคลเป็นอันขาด ทุกคนต้องอยู่ในโรงเรียน
และจะได้เบี้ยเลี้ยงกับเสื้อแบบตามอัตรา ส่วนเครื่องนุ่งห่มธรรมดาและเครื่องเขียนนักเรียนต้องหาของตนเอง
ี
ั
ิ
ในส่วนของหลักสูตรได้มีการเปล่ยนแปลงจากเดิมท้งการเพ่มรายวิชาและการฝึกปฏิบัต การท่เปล่ยนแปลง
ิ
ี
ี
เช่นนี้ก็ปรารถนาที่จะให้นักเรียนมีความรู้และท�าหน้าที่รักษาพยาบาลได้ดีจริงๆ จึงต้องใช้เวลาเรียนให้นาน
ขึ้น และหลักสูตรก็สูงขึ้นกว่าแต่ก่อน วิชาที่เรียนในช่วงปีพุทธศักราช ๒๔๖๐-๒๔๖๕ เพิ่มเป็น ๙ วิชา ดังนี้
๑) อวัยวะวิทยา
๒) สุขวิทยา
๓) สรรพคุณยา
๔) ปัจจุบันพยาบาล
๕) การพยาบาลริมที่นอนคนเจ็บไข้ (ปรับปรุงจากวิชาการพยาบาลคนเจ็บไข้ทั่วไป เป็นวิชาการพยาบาล
ด้านต่างๆ ตามพแนกการรักษา)
๕.๑ การพยาบาลทั่วไป
๕.๒ การพยาบาลโรคผ่าตัด
๔ สภากาชาดสยาม, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงเรียนนางพยาบาล สถานปาสเตอร์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๒ (กรุงเทพฯ :
ส�านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, แผนกโรงพิมพ์ กองบริการ กรมเสมียนตรา, ๒๕๓๔), ๒๑๐-๒๑๒.
86