Page 592 - 100
P. 592
วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
“...เวลา ๒๒.๐๐ น. ทุกคนต้องปิดไฟนอน ถ้ายังไม่นอนจะต้องน�าสิ่งของที่ต้องการท�า ให้ไปอยู่ที่ซึ่งดวงไฟ
เปิดให้ หรือจะนั่งนอนตากอากาศที่สนามภายในเขตของโรงเรียนร่วมกับเพื่อนหรือพี่ พอจะท�าให้คลายความเหงา
�
ี
ึ
ลงได้บ้าง เพราะพ่ๆ ส่วนมากจะเห็นใจในความรู้สึกของผู้มาใหม่ ซ่งยังไม่เคยชินกับสภาพแวดล้อม สาหรับข้าพเจ้า
ไม่มีปัญหาใดๆ เพราะก่อนจะมาอยู่โรงเรียนพยาบาล เคยเป็นนักเรียนประจ�าที่โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์
ื
มาแล้ว พ่ๆ จะชวนคุยถามประวัติส่วนตัวหรือคุยเร่องสนุกๆ ด้วยความย้มแย้มแจ่มใส วาจาไพเราะน่าฟัง บางคน
ิ
ี
จะน�าของขบเคี้ยวมาแจกกัน ครั้นถึงเวลาพอสมควรต่างก็แยกย้ายกลับห้องพักของตน...”
ี
“...ในสมัยก่อนหอพักไม่มีมุ้งลวด เวลานอนต้องกางมุ้ง รุ่นพ่จะต้องสอนวิธีเหน็บมุ้งให้กับน้องปีท่ ๑ ก่อน
ี
ใครท�าไม่สวยไม่ได้ คุณครูจะต�าหนิ...” (นางสาวพิศวง พุทธศิริ อดีตหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์,
ศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย รุ่น ๔๘)
่
�
ี
�
“... การเป็นพยาบาลน้นมิใช่อาชีพท่ตาต้อยอย่างท่บางคนเข้าใจ แต่เป็นอาชีพท่ทาแต่บุญกุศล
ี
ี
ั
เสียสละ แต่ถึงกระนั้นก็ดี วิชาชีพการพยาบาลของเรา ถ้าเทียบกับอย่างอื่นแล้วยังมีภาษีกว่ามากที่เรามีเกียรติสูง
ภาคภูมิใจตัวของเราเองว่าได้ท�าประโยชน์แก่ผู้อื่น และมีงานรอเราอยู่...” (ท่านผู้หญิงถวิลหวัง ทุติยะโพธิ ละคร
ตัวเดียว, ๒๕๑๗, ๒๔)
“...สิ่งที่ได้จากการเรียนพยาบาลคือความอดทน ความมีน�้าใจช่วยเหลือผู้อื่น แม้ไม่มีทรัพย์ก็ช่วยด้วย
วาจา ได้น�าความรู้มาเลี้ยงดูอบรมลูกให้เป็นคนดี มีความเมตตาช่วยเหลือสังคม ร�าลึกถึงพระคุณของโรงเรียน
และท่านหญิงมัณฑารพอยู่เสมอ ได้เคยบริจาคเงินในการสร้างตึก ภปร. และตึก สก. ...” (นางถาวร สุวรรณวงศ์,
ศิษย์เก่าปีพุทธศักราช ๒๔๖๙-๒๔๗๑, สัมภาษณ์ วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๓๘)
“...รู้สึกภาคภูมิใจที่สามารถเรียนผ่านหลักสูตรนี้ไปได้ด้วยดี แม้ว่าจะต้องปรับตัวจากชีวิตที่อิสระและ
สุขสบาย มาสู่ชีวิตที่อยู่ในระเบียบ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่การเรียนและการฝึกปฏิบัติการพยาบาล แต่ก็
มิได้ท้อถอย กลับเพียรพยายามศึกษาเล่าเรียนและปรับทิศทางการมองความล�าบากเหนื่อยยากต่างๆ ให้เป็น
ั
ประโยชน์ต่อผู้อ่นและต่อตนเอง ดังน้นจึงมีแต่ความประทับใจจากการศึกษาในโรงเรียนแห่งน้ ท้งในด้าน
ั
ื
ี
ความมีระเบียบวินัย คุณครูที่ดูแลนักเรียนอย่างเข้มงวดใกล้ชิด แต่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝึกความกล้าหาญ
ในการเข้าพบผู้ใหญ่ ระบบความเป็นพี่น้องที่อบอุ่น และสายสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน...” (ท่านผู้หญิงประเทือง
คชภักดี จากความเรียบง่ายสู่ความสุขและความส�าเร็จของชีวิต, ๒๕๕๖, ๑๘)
ึ
“...ชีวิตนักเรียน ๔ ปี เราได้อะไรหลายอย่างจากการเรียนรู้ ได้ซ้งในวิชาชีพ ซ้งในการอยู่ร่วมกันระหว่าง
ึ
เพื่อน มาจากหลายพ่อหลายแม่ แต่รู้สึกเหมือนอยู่ระหว่างพี่ระหว่างน้อง การท�างานต้องเสียสละ อุทิศเวลา
อุทิศงาน รู้จักเอ้ออาทร ความมีเมตตากรุณา ดังเพลงมาร์ชพยาบาล หล่อหลอมใจเราเข้าไปถึงกระดูก เรารู้สึกว่า
ื
เราไม่เคยลืมสถาบัน ไม่เคยลืมเพื่อนนับจากวันนั้นถึงวันนี้...” (ประจวบ วัฒนพงศ์ศิริ, ศิษย์เก่ารุ่น ๔๙ “เสี้ยวชีวิต
พยาบาลชนบท” สารศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย, ๒๕๔๔, ๘๖)
590 591